ลำปาง-กฟผ.แม่เมาะ เดินหน้าเชิงรุกเตรียมพร้อมรับมือไฟป่าและหมอกควัน
ภาพ-ข่าว:พรปวีณ์ สุรินทร์มงคล
Kick of ป้องกันไฟป่าและหมอกควันปี 67 เดินหน้าแผนป้องกันและระงับไพป่า 3 ช่วง พร้อมทำแนวป้องกันไฟป่าในพื้นที่พื้นฟูสภาพเหมือง 250 กม. จัดทีมลาดคระเวนพร้อมอุปกรณ์ประจำกายฝ้าระวังและระงับ ไฟบ้า 5 ทีมบริเวณพื้นที่เสี่ยง
เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2567 ที่ การไฟฟ้าผ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ) แม่เมาะ อ แม่มาะ จ.สำปาง นายสุชาติ ตุ่นแก้ว ผู้อำนวยการฝ่าย การผสิตเหมืองแม่แาะ (อผม.) เป็นประธานเปิดงาน Kick off ป้องกันไฟป้าและหมอกควัน ประจำปี 2567 จากนั้น ได้ร่วมเยี่ยมชมบอร์ดกิจกรรม “งานป้องกันไฟป่าและหมอกควัน กฟผ.แม่เมาะ” พร้อมปล่อยขบวนชุดลาดตระเวนป้องกันและเฝ้าระวังไฟป่า ทีมรักษาความปลอดภัยเหมืองแม่เมาะ
ทีมรักษาความปลอดภัยโรงไฟฟ้าแม่มาะ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกิจกรรม
นายสุชาติ ตุ่นแก้ว ผู้อำนวยการฝ่ายการผลิตเหมืองแม่มาะ (อผม.) เปิดแผยว่า ปัญหาไฟป่าและหมอกควัน เป็นปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงฤดูแล้ง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในภาคเหนือมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งปัญหานี้ไม่ได้เกิดขึ้นทางตอนเหนือของประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นปัญหาในระดับภูมิภาคหลายประเทศก็ประสบเช่นเดียวกัน กฟผ. แม่มาะ ได้ให้ความสำคัญและดำเนินมาตรการในเชิงป้องกันมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ไพป่าในปัจจุบันมากที่สุด โดยเฉพาะพื้นที่ในความรับผิดชอบกว่า 90,000 ไร่ ทั้งนี้ ปี 2567 จะได้ดำเนินการควบคุมความเสี่ยงที่จะเกิดไฟป่าขึ้น ตามนโยบายของจังหวัดลำปาง ที่มีเป้าหมายกำหนดให้ลดการเกิดจุดความร้อนและพื้นที่เผาลงร้อยละ 50 ขณะเดี๋ยวกัน ยังผสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชนในพื้นที่ อ. แม่เมาะ และจังหวัดลำปาง
สนับสนุนการป้องกันไฟป้ตามที่ได้รับการร้องขออีกด้วย
ด้าน นายสุกิจ ตั้งเบญจผล หัวหน้ากองฟื้นฟูสภาพเหมือง (กฟม-ช.) กล่าวว่า กฟผ. แม่มาะ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ป้องกัน แก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน กฟผ. แม่เมาะ ขึ้นโดยมีภารกิจทั้งกำกับดูแลศูนย์เฉพาะกิจสนับสนุนป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่ า (ศูนย์ลิกไนต์) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่า หม่อกควัน กฟผ แม่มาะ ประชุมและเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันแก้ใขปัญหาไฟป่ากับส่วนราชการ , ให้การสนับสนุนหน่วยงานราชการกรณีเกิดไฟป่าในพื้นที่ อ. แม่มาะ และติดตามพร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการ โดยเตรียมบุคลากรรวมถึงเครื่องจักร สนับสนุนการป้องกันไฟป่าภายในพื้นที่ที่ กฟผ. รับผิดชอบ
และตามที่ได้รับการร้องขอ กำหนดพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง เฝ้าระวังเป็นพิเศษ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นรอยต่อระหว่างป่าธรรมชาติและพื้นที่ กฟผ.
นอกจากนี้ ยังจัดทำแนวป้องกันไฟป่าและเตรียมทีมลาดตระเวนพร้อมอุปกรณ์ ดรวจตรารอบพื้นที่ที่ กฟผ.รับผิดชอบ เป็นระยะทางประมาณ 250 กิโลมดร จัดเตรียมรถดับเพลิง รวมถึงการส่งเสริมให้ชุมชนจัดทำปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุการเกษตร ซึ่งจะช่วยลดวัสดุที่จะเป็นเชื้อเพลิงได้ และ กฟผ.เม่เมาะ ได้มีการพัฒนาแอปพลิเคชั่น LAMPANG HOTSPOTสำหรับติดตามสถานการณ์หมอกควันและไฟป่าในพื้นที่จังหวัดลำปางอีกด้วย